จํานวนผู้เข้าชม

วันจันทร์ที่ 11 กรกฎาคม พ.ศ. 2554

วัฒนธรรมไทย

จำแนกตามหมวดหมู่

ประวัติศาสตร์สากล-บุคคลสำคัญ
ประวัติศาสตร์ไทย-บุคคลสำคัญ
วิทยาศาสตร์-ดาราศาสตร์
ศาสนา--อารยธรรม-ลัทธิ-ความเชื่อ
สุภาษิต คำ คม สำนวน โวหาร
ศิลป-วัฒนธรรม-ประเพณีไทย
สาระน่ารู้เกี่ยวกับสุขภาพ
อื่นๆ...


ผ้าพื้นบ้านไทย
ผ้าพื้นบ้าน ผ้าทอด้วยกี่หรือหูกพื้นบ้าน ตามกรรมวิธีที่สืบทอดกันมาแต่โบราณ มักทอด้วยฝ้ายหรือไหม ผ้าพื้นบ้านหรือผ้าทอมือมีกรรมวิธีการทอต่างๆกัน เช่น ทอเรียบๆไม่มีลาย เรียกผ้าพื้น ทอเป็นลวดลายเรียก ผ้ายก ทอเป็นลวดลายด้วยการจก เรียก ผ้าจก ผ้าทอเป็นลวดลายโดยการขิด เรียก ผ้าขิด ทอเป็นลวยลายด้วยการมัดย้อม เรียก ผ้ามัดหมี่ เป็นต้น

ลักษณะแมวมงคล
แมวไทย เป็นที่นิยมเลี้ยงกันมาก เพราะเป็นแมวที่มีกิริยาสุภาพ ชอบคลอเคลียเอาใจเจ้าของ แต่แมวที่ควรเลี้ยง ท่านให้เลือกเอาตามลักษณะสีกายที่ปรากฎกับแมวนั้น

ลักษณะแมวไทย

เหรียญที่ระลึกรัชกาลที่ 9
เนื่องในวโรกาสพิเศษต่างๆ

หุ่นละครเล็ก
ในนามของ โจหลุยส์ ศิลปินแห่งชาติ ปี พ.ศ. 2539 ผู้เป็นศิษย์รุ่นหลานเป็นผู้สืบทอด ชุบชีวิตหุ่นละครเล็ก มิให้สูญหายไปตามกาลเวลา


ทิพยสุคนธ์ดนตรีไทย
ร่ายลำนำ โดย : เนาวรัตน์ พงษ์ไพบูลย์


คนภูเขา
ชนกลุ่มน้อยที่มีภาษาและวัฒนธรรมประเพณีเป็นของตนเอง และแท้ที่จริงแล้วพวกเขาอาจเป็นชนพื้นเมืองพวกแรกๆ ที่อาศัยอยู่ในพื้นที่แถบนี้มาช้านาน ปัจจุบัน...กำลังจะถูกกลืน อนาคตของพวกเขาคือการอนุรักษ์ และการตกเป็นทาสทางเศรษฐกิจการท่องเที่ยว และกันชนสงครามของคนเมือง.

ประติมากรรมกรีก
การแสดงออกทางประติมากรรมของกรีกเกี่ยวข้องกับปรัชญาความคิด สัมพันธ์อย่างแน่นแฟ้นกับสิ่งศักดิ์สิทธิ์ที่มองไม่เห็น และจินตนาการผสมกับสิ่งที่เป็นจริงมองเห็นได้ด้วยตา

เครื่องเทศประกอบอาหารไทย
ส่วนที่ใช้เป็นเครื่องเทศ และสรรพคุณทางสมุนไพร

สถาปัตยกรรมแห่งรัตนโกสินทร์
เสี้ยวความงาม ของสถาปัตยกรรม แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ อันทรงคุณค่า ส่วนหนึ่งของความทรงจำ ซึ่งแฝงไว้ด้วยความรุ่งเรืองในอดีต

สัตว์เลี้ยงไทย
มนุษย์มีสัตว์เเลี้ยงเป็นเพื่อนช่วยคลายเหงามาช้านาน ในสมัยโบราณ ประเทศไทยมีสัตว์เลี้ยงซึ่งเป็นที่นิยมอยู่มาก แต่บางชนิดกลายเป็นสัตว์ที่หายากในปัจจุบัน และมีบางชนิดกลายพันธุ์ หรือมีลักษณะเปลี่ยนไปจากลักษณะดั้งเดิม คงจะน่าเสียดาย หากสัตว์น่ารักของไทยแท้ๆเหล่านี้ถูกลบเลือนไปจากความทรงจำของเราในวันหนึ่ง

ผลไม้ในวรรณคดี
(พระราชนิพนธ์รัชกาลที่ 2)


วันสำคัญทางพุทธศาสนา

บายศรี
ใช้ในพิธีบวงสรวง พรหมครู เทพพรหมแขนงศิลปะต่างๆ ประกอบด้วยตัวบายศรีตัวแม่ ตัวลูก


ประเพณีและอารยธรรมไทย
ประเพณีไทยอันดีงามที่สืบทอดกันมา ตามความเชื่อ ความผูกพันของผู้คนต่อพุทธศาสนา และการดำรงชีวิตที่สอดประสานกับฤดูกาล และธรรมชาติอย่างชาญฉลาด

คชลักษณศาสตร์
ตำรับมงคลลักษณะหัตถี
ว่าด้วยช้างที่เป็นสวัสดิมงคล
ความรู้เรื่องศักราชที่ใช้ในหนังสือไทย
หนังสือไทยโบราณทั้งหลาย เช่น หนังสือพงศาวดาร ประกาศกฏหมายเก่า หรือ ตำราต่างๆ ฯลฯ มักลงศักราช ไว้ต่างๆ กัน สมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น เมื่อจะลงศักราชบอกเวลาเป็นปี นิยมใช้ "จุลศักราช"

ชนพื้นเมืองดั้งเดิม จังหวัดนครพนม หมู่บ้านวัฒนธรรมชนเผ่า 7 ชนเผ่า


คลิกอ่าน


คลิกอ่าน








ธนบัตรไทย
เงินกระดาษที่ออกครั้งแรกในประเทศไทย เรียกว่า "หมาย" ถ้าเราจะเรียกหมายว่าธนบัตรก็เห็นจะไม่ผิด เพราะธนบัตรมีความหมายเป็นบัตรของรัฐบาล ที่ใช้เป็นเงินตรา


เหรียญกษาปณ์ไทย
เหรียญทองแดงตราอุณาโลม-พระแสงจักร เป็นเหรียญมีรูตรงกลาง ด้านหน้ามีรูปอุณาโลม ด้านซ้ายมีคำว่า "สยามรัฐ"

หุ่นกระบอกไทย
การทำหุ่นกระบอกแต่ละตัว ต้องพิถีพิถันเป็นอย่างยิ่ง นับตั้งแต่การเขียนแบบร่างลวดลาย การปั้น การหล่อ และการเขียนหน้าหุ่น ทำเครื่องศีรษะ เครื่องประดับ การปักดิ้นเลื่อมสำหรับเครื่องแต่งกาย ตลอดจนการสร้างฉาก และเครื่องประกอบฉาก เช่น เรือ สีวิกา ม้า รถ ฯลฯ หุ่นกระบอกของ จักรพันธุ์ โปษยกฤต จึงเป็นผลงานอันประณีตวิจิตรบรรจง ที่เกิดจากการทุ่มเทเวลา ความเพียร และความเป็นเลิศเชิงช่าง

ศิลปะศรัทธา ถวายพระมหากษัตริย์ไทย
ประเทศไทย มีประวัติศาสตร์การปกครองที่ยาวนาน โดยมีพระมหากษัตริย์ที่ทรงปรีชาสามารถ แต่ละยุคแต่ละสมัย ซึ่งทรงนำบ้านเมืองสู่ความรุ่งเรืองสถาพร และมีความเป็นเอกราช ตราบเท่าทุกวันนี้


วิหคมงคล
นกกับคนไทยผูกพันกันมาแต่อดีตกาล คนไทยโบราณเชื่อว่า นกบางชนิดเป็นมงคลแก่ชีวิต
เช่น นกคุ้ม นกกระเรียน นกเขา นกยูง เป็นต้น


เพียงพระบรมฉายาลักษณ์พาดผ่าน
คนไทยผูกพันกับ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวมาช้านาน ในบ้านเรือนหรือสถานศึกษา สถานที่ราชการ แม้แต่โต๊ะทำงาน ต่างมีพระบรมฉายาลักษณ์ของพระองค์ท่านประดิษฐานอยู่ เพื่อเป็นสิริมงคล เป็นพลังใจ สิ่งเหล่านี้เป็นเครื่องยืนยันถึงความเคารพเทิดทูน และความจงรักภักดีที่มีต่อพระองค์ ผู้ทรงพระมหากรุณาธิคุณต่อประชาชนชาวไทย


สะพานที่สำคัญในกรุงเทพฯ
กรุงเทพมหานคร ได้ชื่อว่าเป็นมหานครที่มีประชากรหนาแน่นแห่งหนึ่งของโลก มีคูคลองกระจายอยู่ทั่วไปจนถูกเรียกว่า "เวนิสตะวันออก" ประชากรที่อาศัยอยู่ทั้งสองฝั่งของแม่น้ำเจ้าพระยา ได้อาศัยสะพานเป็นตัวเชื่อมการคมนาคม และการขนส่ง สะพานหลายแห่งในอดีต สามารถเปิดช่วงกลางเพื่อให้เรือสินค้าแล่นผ่านได้ และในอนาคตสะพานจะเป็นสิ่งก่อสร่างขนาดใหญ่ เพื่อให้สามารถรองรับปริมาณยวดยานที่เพิ่มมากขึ้น และระบบการขนส่งมวลชนใหม่ๆ ที่กำละงจะเกิดขึ้น

การแต่งกายของสตรีไทย ตามประวัติศาสตร์โบราณคดีจนถึงปัจจุบัน

สมบัตผู้ดี
คงไม่ต้องถึงขนาดต้องเอาหนุนหัวนอน หรือต้มซดน้ำกินดอก... หากอยากเป็น "ผู้ดี"

เจ้าพระยา... สายน้ำแห่งชีวิต
เหตุการณ์สำคัญมากมายในประวัติศาสตร์ไทย เกิดขึ้นบนสองฝั่งฟากแม่น้ำนี้ ซึ่งเป็นที่ตั้งของเมืองหลวงมาถึง สามยุคสมัย

ศิลปะภาพลายไทย
ชาติไทยเราได้รับมรดกตกทอดทางศิลปมาแต่บรรพบุรุษ อันหาค่ามิได้ และงดงามทางศิลป ทำให้ผู้ที่ได้พบเห็นศิลปไทย รู้สึกติดตาตรึงใจ เกิดปิติ ความสงบ และความสุขสบายใจ

มรดกทางวัฒนธรรมไทย
ความเป็นไทย ที่ควรจะสืบทอดจากคนรุ่นหนึ่งไปสู่คนอีกรุ่นหนึ่ง ชั่วลูกชั่วหลาน...
เรือนไทย
บ้านของชาวสยามสร้างด้วยไม้หรือไม้ไผ่ตามแบบของอินเดีย หลังคาบ้านนั้นใช้จากหรือกระเบื้องมุง เขามักยกพื้นให้สูงกว่าพื้นดินราว 3 หรือ 4 ฟุต บ้านหลังหนึ่งๆ มีประตูหนึ่งบาน หน้าต่างหลายบาน เครื่องแต่งบ้านนั้นมีน้อย มีเท่าที่จำเป็นสำหรับการหลับนอน บริโภคอาหารและการหุงต้มเท่านั้น คือ เสื่อ หมอน โตก ขัน และถ้วยชาม


ละครดึกดำบรรพ์
เป็นละครที่เกิดขึ้นในสมัยรัชกาลที่ 5 กำเนิดขึ้น ณ บ้านเจ้าพระยาเทเวศร์ลงศ์วิวัฒน์(ม.ร.ว. หลาน กุญชร)โดยแสดง ณ โรงละครที่ตั้งชื่อว่า “โรงละครดึกดำบรรพ์”


แม่ไม้มวยไทย
มวยไทยเป็นการเล่นพื้นบ้าน ที่มีคุณลักษณะของการต่อสู้ป้องกันตัว ด้วยการใช้อวัยวะในส่วนที่สามารถใช้ทำอันตรายคู่ต่อสู้ได้ มาใช้งานอย่างชาญฉลาด และมีศิลปอย่างสูง เช่น หมัด ศอกแขน เท้า แข้ง และเข่าเป็นต้น

รัฏฐาธิปัตย์ในระบอบประชาธิปไตย
หลักกฎหมายทั่วไปเกิดขึ้นจากความเป็นธรรมตามธรรมชาติ ซึ่งความเป็นธรรมตามธรรมชาตินี้มีอยู่แล้วในธรรมชาติ มนุษย์ไม่ได้สร้างความเป็นธรรมตามธรรมชาติขึ้นแต่อย่างใด แต่มนุษย์เป็นเพียงผู้ค้นพบและนำมาใช้หรือปฏิบัติเพื่อให้ความเป็นธรรมตามธรรมชาติบังเกิดผลเป็นรูปธรรมขึ้นเท่านั้น

คลิกอ่าน

วัฒนธรรมไทยและประเพณี
วัฒนธรรมคือสิ่งที่มนุษย์เปลี่ยนแปลงหรือปรับปรุงหรือผลิตสร้างขึ้น เพื่อความเจริญงอกงามในวิถีชีวิตและส่วนรวม วัฒนธรรมคือวิถีแห่งชีวิตของมนุษย์ในส่วนร่วมที่ถ่ายทอดกันได้ เรียนกันได้ เอาอย่างกันได้ วัฒนธรรมจึงเป็นผลผลิตของส่วนร่วมที่มนุษย์ได้เรียนรู้มาจากคนสมัยก่อน สืบต่อกันมาเป็นประเพณี


การละเล่นของไทย
เด็กๆในอดีตมีอิสระในการละเล่น สามารถสร้างสรรค์กิจกรรมต่างๆ โดยคิดกฎกติกาได้เอง การละเล่นของเด็กไทยในอดีต ทั้งที่เล่นกลางแจ้งและในร่ม โดยส่วนใหญ่เลียนแบบจากการทำงานและอาชีพของผู้ใหญ่ หรือคิดการละเล่นใหม่ๆ เพื่อแข่งขันในหมู่เพื่อนกันเองโดยเฉพาะ

ตู้พระไตรปิฎก
ตู้พระไตรปิฎก วัตถุโบราณชนิดหนึ่ง ที่คนส่วนใหญ่มักชื่นชมเพียงคุณค่าภายนอก แต่แท้จริงแล้วเปรียบได้ดั่งบทเรียนชีวิตอันทรงคุณค่า หากผู้พยเห็นได้ศึกษาถึงแก่นแท้ของธรรมะที่ซ่อนเร้นอยู่ภายใน และรู้จักนำมาปฎิบัติ ขณะที่บุคคลใดชื่นชมเพียงศิลปะภายนอก ก็เปรียบเสมือนได้ก้าวผ่านขุมทรัพย์ทางปัญญาอันล้ำค่า ที่จะช่วยปลดปล่อยความทุกข์ทางใจ เฉกเช่นการหนีปัญหาแทนการต่อสู้ นั่นคือการสูญเสียประสบการณ์อันมีค่ายิ่ง ที่จะเป็นเกราะป้องกันปัญหาในอนาคต เพื่อนำคุณสู่ความสำเร็จอย่างภาคภูมิใจ

"หาบเร่" สายป่านชีวิตไทย
กำเนิดของหาบเร่ไม่ปรากฎเป็นหลักฐานที่แน่ชัด หากได้ผูกพันกับชีวิตของคนไทยมาแต่โบราณ เป็นสายป่านเพื่อการดำเนินชีวิตที่สืบทอดต่อกันมา และคงเอกลักษณ์ไทย ที่บ่งบอกถึงความอ่อนช้อย ที่แม้ไม้คานก็อ่อนเยิบพอเหมาะ ภาพของหาบเร่ได้เปลี่ยนไปตามความเจริญของบ้านเมือง และหลายแบบได้สูญหายไปเหลือเพียงความทรงจำ

พระมหาธาตุ
หลังจากพระพุทธเจ้าเสด็จเข้าสู่ปรินิพพาน พระบรมสารีริกธาตุ ได้ถูกแบ่งออกเป็น 8 ส่วน ให้กษัตริย์ 8 เมือง ที่ทรงเสื่อมใสในพุทธศาสนา ณ ประเทศอินเดีย เพื่อสร้างพระมหาธาตุเจดีย์บรรจุพระบรมสารีริกธาตุไว้สักการะบูชา เป็นจุดเริ่มต้นที่มาของคติในการสร้างพระมหาธาตุเจดีย์ขึ้น และแพร่หลายไปสู่ลังกาทวีป

พระราชพิธีสิบสองเดือน
สถาบันพระมหากษัตริย์ของไทยนั้น อยู่ในฐานะอันเป็นที่เคารพสักการะ เป็นหลักสำคัญของชาติ และทรงไว้ซึ่งพระราชภาระทำนุบำรุงบ้านเมือง กิจหนึ่งซึ่งมีความสำคัญที่องค์พระมหากษัตริย์ทรงปฎิบัติในแต่ละเดือน คือพระราชพิธีทั้งปวง หรือที่เรียกกันว่า พระราชพิธีสิบสองเดือน

เครื่องแขวนไทย
เรียงร้อยหัตถศิลป์ สร้างสรรค์งานสวย ดื่มด่ำความเป็นไทย ที่นับวันจะหมดไป

ปฎิทินตั้งโต๊ะ

มหัศจรรย์ชีวิต แห่งโลกใบเล็ก
สืบสานพืชพรรณไทย
โลกใต้ทะเลไทย
อุทยานประวัติศาสตร์
ตาลปัตรพัดรอง
เครื่องราชอิสริยาภรณ์ไทย
พระราชลัญจกร
ทิงธงมงคลชัย
ช้างไทย
ลีลากีฬาสัตว์
สามล้อไทย
สังคโลก
สะพานสู่ฟ้าใหม่
เงินตราโบราณ

คำขวัญ 76 จังหวัด ของประเทศไทย
เอกลักษณ์ประจำจังหวัด ที่ควรรู้และใส่ใจ เพื่อความเป็นไทยที่ชัดเจน

สถาปัตยกรรมไทยสมัยรัตนโกสินทร์
อลังการแห่งสถาปัตยกรรมไทย และการผสมผสานด้านศิลปกรรม

โคมประทีป-พุทธบูชา
มรดกไทย ความภาคภูมิใจ ที่รอการสืบทอด

โต๊ะหมู่บูชา
ศิลปะการจัดวางเครื่องสักการะบูชา ในพีธีกรรมต่างๆ ตามคติความเชื่อ และเพื่อความเป็นสิริมงคล แบบพุทธๆ

ขนมไทย
ขนมหม้อแกง ,มะพร้าวแก้ว,เสน่ห์จันทร์,ขนมทองเอก,ทองหยิบ

ขนบธรรมเนียมและประเพณีไทย

บ้านเชียง
แหล่งโบราณคดีที่หลงเหลือจากการปล้นประวัติศาสตร์

วันจักรี
พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก ทรงมีพระนามเดิมว่า ทองด้วง ทรงพระราชสมภพ ณ กรุงศรีอยุธยา เมื่อวันที่ 20 มีนาคม พ.ศ. 227

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น